การศึกษาปัญหาการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง
โดย
นายระพีพัฒน์ ป้อมคำ และคณะ
เสนอ
ครูชมพูนุช กิจแก้ว
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การสื่อสารและการนำเสนอ (IS2 I30204)
ภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนบ้านไร่วิทยา
การศึกษาปัญหาการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง
โดย
นายระพีพัฒน์ ป้อมคำ
นายอนุชา เรืองเขตพิศ
นางสาวณัฐนรี สาธุภาพ
เสนอ
ครูชมพูนุช กิจแก้ว
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การสื่อสารและการนำเสนอ (IS2 I30204)
ภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนบ้านไร่วิทยา
คำนำ
ปัจจุบันการใช้ภาษาไทยอย่างผิดๆถือเป็นปัญหาใหญ่ในประเทศไทยเป็นอย่างมากและจะใช้ผิดกันไปเรื่อยๆ
จนติดเป็นนิสัย จนทำให้เราจำอะไรกันแบบผิดๆไปใช้กันจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน
ก็จะใช้แบบผิดๆไปด้วย
เป็นปัญหาเพราะในตอนนี้
เพราะถ้าหากเราไม่ลงมือทำอะไรเลย สิ่งที่ตามมาก็คงจะเป็นกันอยู่ทั่วๆไป เช่น
ป้ายโฆษณาที่เขียนกันแบบผิดๆ จึงทำให้เด็กหรือ คนหลายๆคน
จดจำว่ามันเขียนแบบนี้ถูกแล้วเพราะเป็นโฆษณา ไม่น่าจะเขียนผิด
คณะผู้จัดทำได้ตระหนักถึงการใช้ภาษาทไทยใช้ภาษาทไทยให้ถูกต้อง
เป็นอย่างมาก ทางคณะผู้จัดทำจึงได้มีการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล
จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือและอ้างอิงได้
ดังนั้นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนบ้านไร่วิทยา ตำบล บ้านบึง
อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
จึงจัดทำรายงานเชิงวิชาการฉบับนี้จึงมุ่งศึกษาการศึกษาการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องและให้ทุกคนเห็นความสำคัญของภาษาไทยในปัจจุบัน
คณะผู้จัดทำ
15
กุมภาพันธ์ 2559
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
หน้า
แนวคิดและความสำคัญ
1
วัตถุประสงค์
1
ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ
2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
วัยรุ่นไทยสมัยนี้นิยมใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คเพื่อการติดต่อที่รวดเร็ว 3
ลักษณะและตัวอย่าง
4
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ
6
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
7
บทที่ 5 สรุปผล
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 8
บรรณานุกรม
10
บทที่ 1
ความเป็นมาและความสำคัญ
ปัจจุบันการใช้ภาษาไทยอย่างผิดๆถือเป็นปัญหาใหญ่ในประเทศไทยเป็นอย่างมากและจะใช้ผิดกันไปเรื่อยๆ
จนติดเป็นนิสัย จนทำให้เราจำอะไรกันแบบผิดๆไปใช้กันจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน
ก็จะใช้แบบผิดๆไปด้วย
เป็นปัญหาเพราะในตอนนี้
เพราะถ้าหากเราไม่ลงมือทำอะไรเลย สิ่งที่ตามมาก็คงจะเป็นกันอยู่ทั่วๆไป เช่น
ป้ายโฆษณาที่เขียนกันแบบผิดๆ จึงทำให้เด็กหรือ คนหลายๆคน
จดจำว่ามันเขียนแบบนี้ถูกแล้วเพราะเป็นโฆษณา ไม่น่าจะเขียนผิด
คณะผู้จัดทำได้ตระหนักถึงการใช้ภาษาทไทยใช้ภาษาทไทยให้ถูกต้อง
เป็นอย่างมาก ทางคณะผู้จัดทำจึงได้มีการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล
จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือและอ้างอิงได้
ดังนั้นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนบ้านไร่วิทยา ตำบล บ้านบึง
อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
จึงจัดทำรายงานเชิงวิชาการฉบับนี้จึงมุ่งศึกษาการศึกษาการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องและให้ทุกคนเห็นความสำคัญของภาษาไทยในปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1.เพื่อนำการศึกษาปัญหาไม่ให้คนไทยใช้ภาษาไทยแบบผิดๆ
2.เพื่อเขียนรายงานเชิงวิชาการได้อย่างถูกต้อง
3.เพื่อให้คนไทยได้เล็งเห็นถึงปัญหาในการใช้ภาษาไทยแบบผิดๆ
ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ
4 พฤศจิกายน 2558-15กุมภาพันธ์ 2559
บ้าน
และ โรงเรียน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อปลูกฝังให้คนไทยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในภาษาไทยและนำไปใช้ให้ถูกต้อง
3.สามารถนำการศึกษานี้ไปใช้รณรงค์ไปใช้กับที่อื่น
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
วัยรุ่นไทยสมัยนี้นิยมใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คเพื่อการติดต่อที่รวดเร็ว
วัยรุ่นไทยสมัยนี้นิยมใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คเพื่อการติดต่อที่รวดเร็วและเนื่องจากความเร็วในการสื่อสารรและความยากลำบากในการพิมพ์ตัวอักษรทำให้วัยรุ่นทำให้คำเหล่านั้นสั้นลงจนกลายเป็นภาษาวิบัติ
ภาษาวิบัติ เป็นคำเรียกของการใช้ภาษาไทยที่เปลี่ยนแปลงไป
และไม่ตรงกับกับหลักภาษาในด้านการสะกดคำคำว่า 'ภาษาวิบัติ'
ใช้เรียกรวมถึงการเขียนที่สะกดผิดบ่อย
รวมถึงการใช้คำศัพท์ใหม่หรือคำศัพท์ที่สะกดแปลกไปจากเดิม คำว่า "วิบัติ"
มาจากภาษาบาลี หมายถึง พินาศฉิบหาย หรือความเคลื่อนทำให้เสียหาย
ในประเทศไทย
มีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงปัญหาเด็กไทยขาดการศึกษารวมถึงปัญหาภาษาวิบัติทำให้ เด็กไทย
ไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
ในขณะเดียวกันได้มีการใช้คำว่าภาษาอุบัติแทนที่ภาษาวิบัติที่มีความหมายในเชิงลบ
โดยภาษาอุบัติหมายถึงภาษาที่เกิดขึ้นมาใหม่ ตอบสนองวัฒนธรรมย่อย
เช่นเดียวกับภาษาเฉพาะวงการที่เป็นศัพท์สแลง
ทั้งนี้
การเปิดใช้พจนานุกรมเพื่อค้นหาคำที่ควรใช้ให้ถูกต้องอาจเป็นทางเลือกที่ดี[ต้องการอ้างอิง]
ทางบัณฑิตยสถานได้กำหนดคำที่ใช้อย่างเป็นทางการหรืออยู่ในรูปแบบมาตรฐาน
หากใช้ผิดอาจกลายเป็นคำวิบัติได้[ต้องการอ้างอิง]
ซึ่งคำวิบัติไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงของภาษาแต่อย่างใด[ต้องการอ้างอิง]
เป็นเพียงการใช้ภาษาให้แตกต่างจากปกติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
หรืออาจใช้จากรุ่นสู่รุ่นไปจนกว่าคำวิบัตินั้นจะหายไปจากสังคมนั้น ๆ
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่า
ภาษาวิบัติเป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่ผู้ใหญ่ในสังคมไม่ชอบ
แม้ภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้ภาษาเปลี่ยน
การให้เหตุผลว่าภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง
เพราะเป็นภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ นิธิเห็นว่าเป็นเหตุผลแบบไสยศาสตร์
ไม่ค่อยน่าฟัง นิธิยังเห็นว่า ปัญหาของภาษาไทยในปัจจุบันคือ
การใช้ภาษาไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ไวยากรณ์ การใช้ศัพท์หรือการเรียบเรียง เป็นต้น
และการไม่ศึกษาภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปนี้เองที่จะเป็นเหตุให้เกิด
"ภาษาวิบัติ"
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ช่วงที่มีผู้สร้างภาพยนตร์ไปตั้งเป็นชื่อ หอแต๋วแตกแหวกชิมิ กาญจนา
นาคสกุล ราชบัณฑิตประเภทวรรณศิลป์ สาขาวิชาภาษาไทย ระบุ คำว่า "ชิมิ"
หากเป็นการใช้ภายในกลุ่มก็ไม่มีปัญหาอะไร
เพราะเป็นการล้อกันเล่นซึ่งเป็นปกติของภาษา และจะเลือนหายไปตามกาลเวลา แต่การนำไม่ใช้เชิงสาธารณะดังที่ไปตั้งเป็นชื่อภาพยนตร์
ถือว่าไม่เหมาะสมนัก เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 กนกวลี
ชูชัยยะ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า
สถานการณ์ภาษาไทยในปัจจุบันยังไม่ถึงขั้นวิกฤต
และวัยรุ่นใช้ภาษาแช็ตเฉพาะบนอินเทอร์เน็ต และสื่อสารภายในวัยรุ่นเท่านั้น ยังไม่พบนำมาใช้ในการเขียนหรือการทำงานแต่อย่างใด
ลักษณะและตัวอย่าง
คำสะกดผิดได้ง่าย เป็นรูปแบบของคำที่มีการสะกดผิด
ซึ่งเกิดจากคำที่มีการผันอักษรและเสียงไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์
•
สนุ๊กเกอร์ (สนุกเกอร์)
•
โน๊ต (โน้ต)
คำที่สะกดผิดเพื่อให้แปลกตา
•
หน่องเตย (ใบเตย อาร์ สยาม)
•
นู๋ (หนู)
•
ชะมะ,ชิมิ (ใช่ไหม)
คำที่สะกดผิดเพื่อแสดงอารมณ์
•
เป็นอะไร →
เปงราย, เปนรัย, เปงรัย
•
ทำไม → ทามมาย, ทามมัย
•
จังเลย →
จังรุย, จังเยย, จุงเบย
คำเลียนเสียง โดยส่วนใหญ่จะเพิ่มทัณฑฆาต หรือซ้ำตัวอักษร
•
อ๊าย →
แอร๊ยย, อร๊ายยย, อั้ยยะ
•
กรี๊ด →
กี๊สส
•
โฮก → โฮกกก
ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่วัยรุ่นทำให้เปลี่ยนแปลงมาเรื่อยจนอาจจะทำให้ไม่มีเค้าโครงเดิมของภาษาไทยอีกต่อไป
ฉะนั้นแล้ววัยรุ่นไทยควรช่วยกันถนอมและรักษาภาษาไทยเอาไว้ให้เหมือนอย่างที่มันเป็นมาตลอด
บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
การศึกษาปัญหาการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง
เพื่อให้วัยรุ่นใช้ภาษาได้ถูกต้องและอนุรักษ์ภาษาไทยไว้ มีวิธีการศึกษา ดังนี้
1.สมาชิกในกลุ่มผู้จัดทำร่วมกำหนดหัวข้อที่จะศึกษา
และแบ่งหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม
2.รวบรวมข้อมูล
จากนั้น นำข้อมูลมาทำโครงร่างการศึกษาค้นคว้า
3.รวบรวมข้อมูลและแปลผลข้อมูล
จากนั้นนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์แนวโน้มการเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ของปัญหาในการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง
4.นำข้อมูลรวบรวมมาวิเคราะห์เพื่อหาทางให้ใช้ปัญภาษาไทยให้ถูกต้องและ
อนุรักษ์ภาษาไทยไว้สืบไป
5.นำเสนอข้อมูลด้วยวาจาและรายงานสรุปผลการศึกษาค้นคว้าต่อครูที่ปรึกษา
บทที่ 4
ผลการดำเนินการ
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ช่วงที่มีผู้สร้างภาพยนตร์ไปตั้งเป็นชื่อ หอแต๋วแตกแหวกชิมิ กาญจนา
นาคสกุล ราชบัณฑิตประเภทวรรณศิลป์ สาขาวิชาภาษาไทย ระบุ คำว่า "ชิมิ"
หากเป็นการใช้ภายในกลุ่มก็ไม่มีปัญหาอะไร
เพราะเป็นการล้อกันเล่นซึ่งเป็นปกติของภาษา และจะเลือนหายไปตามกาลเวลา แต่การนำไม่ใช้เชิงสาธารณะดังที่ไปตั้งเป็นชื่อภาพยนตร์
ถือว่าไม่เหมาะสมนัก เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 กนกวลี
ชูชัยยะ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า
สถานการณ์ภาษาไทยในปัจจุบันยังไม่ถึงขั้นวิกฤต
และวัยรุ่นใช้ภาษาแช็ตเฉพาะบนอินเทอร์เน็ต และสื่อสารภายในวัยรุ่นเท่านั้น ยังไม่พบนำมาใช้ในการเขียนหรือการทำงานแต่อย่างใด
ลักษณะและตัวอย่าง
คำสะกดผิดได้ง่าย เป็นรูปแบบของคำที่มีการสะกดผิด
ซึ่งเกิดจากคำที่มีการผันอักษรและเสียงไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์
ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่วัยรุ่นทำให้เปลี่ยนแปลงมาเรื่อยจนอาจจะทำให้ไม่มีเค้าโครงเดิมของภาษาไทยอีกต่อไป
ฉะนั้นแล้ววัยรุ่นไทยควรช่วยกันถนอมและรักษาภาษาไทยเอาไว้ให้เหมือนอย่างที่มันเป็นมาตลอด
บทที่
5
สรุปและอภิปรายผล
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่า ภาษาวิบัติเป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่ผู้ใหญ่ในสังคมไม่ชอบ
แม้ภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้ภาษาเปลี่ยน
การให้เหตุผลว่าภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง
เพราะเป็นภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ นิธิเห็นว่าเป็นเหตุผลแบบไสยศาสตร์
ไม่ค่อยน่าฟัง นิธิยังเห็นว่า ปัญหาของภาษาไทยในปัจจุบันคือ
การใช้ภาษาไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ไวยากรณ์ การใช้ศัพท์หรือการเรียบเรียง เป็นต้น
และการไม่ศึกษาภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปนี้เองที่จะเป็นเหตุให้เกิด
"ภาษาวิบัติ"
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ช่วงที่มีผู้สร้างภาพยนตร์ไปตั้งเป็นชื่อ หอแต๋วแตกแหวกชิมิ กาญจนา
นาคสกุล ราชบัณฑิตประเภทวรรณศิลป์ สาขาวิชาภาษาไทย ระบุ คำว่า "ชิมิ"
หากเป็นการใช้ภายในกลุ่มก็ไม่มีปัญหาอะไร
เพราะเป็นการล้อกันเล่นซึ่งเป็นปกติของภาษา และจะเลือนหายไปตามกาลเวลา
แต่การนำไม่ใช้เชิงสาธารณะดังที่ไปตั้งเป็นชื่อภาพยนตร์ ถือว่าไม่เหมาะสมนัก
เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 กนกวลี ชูชัยยะ
เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า สถานการณ์ภาษาไทยในปัจจุบันยังไม่ถึงขั้นวิกฤต
และวัยรุ่นใช้ภาษาแช็ตเฉพาะบนอินเทอร์เน็ต และสื่อสารภายในวัยรุ่นเท่านั้น
ยังไม่พบนำมาใช้ในการเขียนหรือการทำงานแต่อย่างใด
ลักษณะและตัวอย่าง
คำสะกดผิดได้ง่าย
เป็นรูปแบบของคำที่มีการสะกดผิด
ซึ่งเกิดจากคำที่มีการผันอักษรและเสียงไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์
•
สนุ๊กเกอร์ (สนุกเกอร์)
•
โน๊ต (โน้ต)
คำที่สะกดผิดเพื่อให้แปลกตา
•
หน่องเตย (ใบเตย อาร์ สยาม)
•
นู๋ (หนู)
คำที่สะกดผิดเพื่อแสดงอารมณ์
•
เป็นอะไร →
เปงราย, เปนรัย, เปงรัย
•
ทำไม → ทามมาย, ทามมัย
•
จังเลย →
จังรุย, จังเยย, จุงเบย
คำเลียนเสียง
โดยส่วนใหญ่จะเพิ่มทัณฑฆาต หรือซ้ำตัวอักษร
•
อ๊าย →
แอร๊ยย, อร๊ายยย, อั้ยยะ
•
กรี๊ด →
กี๊สส
•
โฮก → โฮกกก
ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่วัยรุ่นทำให้เปลี่ยนแปลงมาเรื่อยจนอาจจะทำให้ไม่มีเค้าโครงเดิมของภาษาไทยอีกต่อไป
ฉะนั้นแล้ววัยรุ่นไทยควรช่วยกันถนอมและรักษาภาษาไทยเอาไว้ให้เหมือนอย่างที่มันเป็นมาตลอด
ข้อเสนอแนะ
การจัดทำรายงานเรื่อง
การศึกษาปัญหาการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง มีข้อเสนอแนะดังนี้
ข้อเสนอแนะสำหรับคนที่จะศึกษาหัวข้อนี้ต่อไป คือ
1.ควรหาข้อมูลของปีในปัจจุบัน
2.ควรนำไปเผยแพร่สู่ชุมชนเพราะปัญหายาการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง
ควรจะให้ผู้ที่ขาดความรู้ในเรื่องนี้ได้รู้จักคุณค่าของภาษาไทย
การใช้ภาษาไทยแบบผิดๆจะได้ลดน้อยลง
บรรณานุกรม
MGR Online.
(2557). ปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่น.
เข้าถึงได้จาก : http://www.thaihealth.or.th/
(วันที่สืบค้น25 กุมภาพันธ์ 2559).
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ . (2557). การใช้ภาษาไทยในวัยรุ่นเ
เข้าถึงได้จาก
:
http://www.kjn.ac.th/
(วันที่สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2559).
KADG POTONG JAPAN | Online Casino | KADG POTONG JAPAN
ตอบลบIt is not an exclusive place to get real kadangpintar money 메리트 카지노 고객센터 or real prizes,” KadG POTONG JAPAN is just one of 제왕카지노 a number of casino games to play today. Rating: 4.7 · 7,543 votes